วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะศึกษาศาสตร์
เอกการศึกษาปฐมวัย
ชื่อวิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Mathematic Experiences for Early Childhood
รหัสวิชา EAED 2204  จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน เวลาที่สอน วันที่ 8 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ภาคเรียนที่ 2/2556  กลุ่ม 102 
วันศุกร์ 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432(จษ.)

🌈🌈🌈🌈🌈🌈🌈🌈🌈

จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์
  - เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การรู้จักคำศัพท์
  - เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
  - เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
  - เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
  - เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
  - เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มี 7 ทักษะ
  1.การสังเกต Observation
- โดยใช้ประสาทสัมผัส
- เด็กเช้าไปปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์โดยตรง
  2.การจำแนกประเภท Classifying
- ความเหมือน
- ความแตกต่าง
- ความสัมพันธ์
- เกณฑ์ในการตัดสินใจของเด็ก



  3.การเปรียบเทียบ Comparing
- การหาความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2อย่างขึ้นไป 
- สิ่งของ ความแตกต่าง ความเหมือน และใช้ยังไง
  4.การจัดลำดับ Ordering
- เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
- การจัดลำตัววัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์

----------------


  5.การวัด Measurement
- มีความสัมพันธ์กับความสามาถรในการอนุรักษ์
- การวัดสำหรับเด็กปฐมวัยได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
* การจัดของเด็กปฐมวัย ไม่ใช้หน่วยมาตรฐานในการวัด



  6.การนับ Counting (การนับมีจุดประสงค์/แสดงตัวอย่าง)
- เด็กชอบการนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
- การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเนื่องเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
  7.รูปทรงและขนาด Sharp and Size
- เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนเข้าโรงเรียน แต่ไม่รู้จุดประสงค์

---------------
--------------

ต่อไปเป็นการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน
------การนับจำนวนของกลีบดอกไมั------
วิธีการทำ เขียนจำนวนตัวเลขที่เราชอบ แล้วทำกลีบดอกไม้ตามจำนวนที่เราชอบ จากนั้นตกแต่งให้สวยงาม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนครั้งนี้
  - การทักษะทั้ง 7ด้านทำให้รู้ถึงหลักการของเด็กในทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดความสัมพันธ์ระหว่าง การสังเกต การจำแนกประเภท การเปรียบเทียบ การจัดลำดับ การวัด การนับ รูปทรงและขนาด 
  - เกิดแล้วทางในการเรียนการสอนและนำกลับมาใช้ พัฒนาสิ่งที่ให้ดีขึ้น